ปมสด.2 ประเมิน ครั้งที่ 1 ปีงบประมาณ 2566

การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน วัดได้จากพฤติกรรมหรือการปฏิบัติงานจริง ซึ่งอยู่ในรูปของการประเมินจากสมรรถนะผู้ปฏิบัติงานมหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีสัดส่วนการประเมิน (15 คะแนน)

1. ค่านิยมความเป็นสวนดุสิต (SDU Guiding Values “GROW”

1. มีบุคลิกภาพที่โดดเด่นแสดงออกถึงความเป็นอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย

  บุคลิกภาพ : การแต่งกายสุภาพเหมาะสม ถูกกาลเทศะ

  (มีภาพตัวอย่างประกอบ ภาคสนาม/สำนักงาน/วิชาการ)

  มีความนอบน้อม

2. อุทิศตน เสียสละ มุ่งผลสัมฤทธิ์ มีคุณธรรม และความโปร่งใสในการทำงาน

3 ทำงานอย่างประณีต มีคุณภาพ มีความเป็นสากล

    -----เกณฑ์คะแนน---------

    3 ข้อ ได้ 5 คะแนน

    2 ข้อ ได้ 4 คะแนน

    1 ข้อ ได้ 3 คะแนน

มีงานวิจัยเผยแพร่ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ

     การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันคลังเครดิตเพื่อรองรับการศึกษาทุกช่วงวัย     

     Developing the credit bank web application to support education of all ages

     นภัสศรัณย์ ชัชวาลานนท์ อภสิิทธิ์ เพชรหงษ์  รัชตไพบูลย์  อ่ำขวัญยืน อภิรัตน์ จิริังคพาณิชย์ และวิชานนท์ กุศลช่วย     

     Napatsarun Chatchawalanoth, Apisit Pechhong, Ratchatapaibool Amkwanyuen,  Apirat Jirangkapanich and Wichanon Kusonchuay 

     การประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชมงคลสรุินทร์ ครั้งที่ 13”         

         “วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพฒันาเศรษฐกิจ BCG”          

          ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์

2. การเปิดกว้างทางความคิดอย่างอิสระและการคิดสร้างสรรค์ (Empowering Ideas and creative thinking)

1. มีแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (IDP) 

2. มีการปฏิบัติตามแผน IDP

    -----เกณฑ์คะแนน---------

    ข้อละ 2 คะแนน

    2 ข้อ ได้ 4 คะแนน

    1 ข้อ ได้ 2 คะแนน

มีแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล และมีการปฏิบัติตามแผน IDP

เรียนรู้ตลอดเวลา 7 หลักสูตร จำนวน 20 ชั่วโมง

และนำความรู้มาถ่ายทอดในองค์กรและสาธารณะชน

3. การปฏิบัติงานและสร้างงานคุณภาพด้วยความมุ่งมั่น ฝักใฝ่ในงาน เพื่อยกระดับการทำงาน

1. ประเมินผลงานสำเร็จตาม IDP (สำเร็จ/ไม่ทำ)

2. มีการพัฒนางานสู่ความเป็นมืออาชีพ (วิทยากร/ ตำแหน่งวิชาการ/ หนังสือ/ ตำรา/ อื่นๆ)

   (มีหนังสือเชิญและอนุญาตให้ไป)

    -----เกณฑ์คะแนน---------

    ข้อละ 2 คะแนน

    2 ข้อ ได้ 4 คะแนน

    1 ข้อ ได้ 2 คะแนน

    เป็นวิทยากรหลักสูตร

    การสร้างเว็บไซต์ง่าย ๆ ด้วย WiX

    วันที่ 14 ธันวาคม 2565 เวลา 9:00-12:00 น.

4. การคิดเชิงออกแบบเพื่อการสร้างสรรค์สิ่งใหม่และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ (Design thinking)

1. มีแนวคิดในการสร้างผลงานนวัตกรรมในรูปแบบชิ้นงาน หรือ ผลิตภัณฑ์ หรือ กระบวนการ ใหม่

2. มีการนำผลงานนวัตกรรมในรูปแบบชิ้นงาน หรือ ผลิตภัณฑ์ หรือ กระบวนการใหม่ไปใช้แก้ไขปัญหาหรือพัฒนางานอย่างเป็นรูปธรรม 

(แสดงหลักฐานการใช้ประโยชน์เชิงประจักษ์ เช่น การลดต้นทุน ลดเวลาการทำงาน ความพึงพอใจของผู้ใช้งาน รายได้จากนวัตกรรม เป็นต้น)

-----เกณฑ์คะแนน---------

ข้อละ 2 คะแนน

2 ข้อ ได้ 4 คะแนน

1 ข้อ ได้ 2 คะแนน

  1. พัฒนาระบบสารสนเทศใช้ในมหาวิทยาลัย

พัฒนาเว็บแอปพลิเคชันคลังเครดิตเพื่อรองรับการศึกษาทุกช่วงวัย       ระบบคลังหน่วยกิต  (http://creditbank.sci.dusit.ac.th)

ซึ่งระบบการศึกษา academic.dusit.ac.th ไม่รองรับการอบรม

          2. แนวคิดในการสร้างกระบวนการใหม่ไปใช้แก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น โดยใช้กระบวนการ Design Thinking ดังนี้

          ปัญหาจากการทำโครงการ Upskill & Reskill เพื่อพัฒนาทักษะด้านการใช้ดิจิทัล (Digital Literacy) ปีงบประมาณ 2565 คือ การดำเนินการของผู้จัดการอบรมออนไลน์ และผู้สมัครเข้าอบรมออนไลน์ จึงมีแนวคิดในการสร้างกระบวนการใหม่และผลงานใหม่เพื่อนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหาดังกล่าว และนำมาใช้ในการดำเนินโครงการ Upskill - Reskill - Newskill  เพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านดิจิทัล (Digital Competency) ปีงบประมาณ 2566 กระบวนการใหม่นี้นำมาใช้ในการแก้ปัญหาและเป็นการพัฒนางานให้ดียิ่งขึ้น โดยใช้กระบวนการ Design Thinking ดังนี้

  1. ทำความเข้าใจต่อกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งมี 2 ส่วนคือ ผู้จัดการอบรมออนไลน์จะมีปัญหาในเรื่องการดำเนินการต่างๆ ในการจัดอบรมออนไลน์ และ ผู้สมัครอบรมออนไลน์บางครั้งส่วนหนึ่งมักจะลืมวันที่เข้าอบรมเนื่องจากเป็นการสมัครล่วงหน้าหลายวัน
  2. ปัญหาที่เกิดขึ้น มี 2 ส่วนคือ

1) ผู้จัดการอบรมออนไลน์จะมีปัญหาในเรื่องการดำเนินงานส่วนต่างๆ เช่น การรับสมัครอบรมออนไลน์ผ่านรบบที่โครงการฯ จัดทำขึ้นผู้สมัครอบรมออนไลน์มีจำนวนมากแต่เมื่อถึงวันอบรมจริงมีจำนวนลดลงอย่างมาก และการตรวจสอบรายชื่อผู้เข้าอบรมออนไลน์เพื่อใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไขการให้วุฒิบัตรกับผู้เข้าอบรมออนไลน์ และการดำเนินงานต่างๆ เป็นต้น

2) ผู้สมัครอบรมออนไลน์ส่วนหนึ่งมักจะลืมวันที่เข้าอบรม

  1. ระดมความคิดของทีมงานเพื่อแก้ปัญหาโดยมีการระดมความคิดเห็นจากคณะทำงานเพื่อแก้ปัญหาโดยจะนำเครื่องมือต่างๆ เช่น แอปพลิเคชันไลน์ Google Calendar และพัฒนาเว็บไซต์การจัดการอบรมออนไลน์ มาใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ
  2. สร้างรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา ดังนี้

   1) นำผลงานการสร้างเว็บไซต์เพื่อการจัดการอบรมออนไลน์โดยนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการแก้ปัญหาการตรวจสอบรายชื่อผู้เข้าอบรมออนไลน์ (ปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษาโครงงาน)

   2) เปิดรับสมัครผู้เข้าอบรมโดยผ่านระบบ E-Training ของหน่วยงานกองบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต และประชาสัมพัน์ล่วง 1 สัปดาห์ก่อนวันอบรมจริง

   3) มีการแจ้งเตือนผ่านทาง Google Calendar ของผู้ดำเนินการจัดการอบรมเพื่อให้สามารถดำเนินงานได้ตามกำหนดเวลาอย่างเหมาะสม

   4) มีการแจ้งเตือนผ่านทางแอปพลิเคชันไลน์ส่วนตัวของผู้สมัครอบรมก่อนวันอบรมจริง 1 วัน และประชาสัมพันธ์แจ้งเตือนผู้สมัครอบรมออนไลน์ก่อนวันอบรมจริง 2 วัน

  1. ทดสอบวิธีการแก้ปัญหา นำรูปแบบวิธีการแก้ปัญหามาใช้ในการจัดโครงการ Upskill - Reskill - Newskill เพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านดิจิทัล (Digital Competency) ปีงบประมาณ 2566

5. การตระหนักรู้ถึงการจัดลำดับความสำคัญและการสนองตอบต่อภาวะเร่งด่วน

1. สามารถจัดลำดับงานตามความสำคัญและความเร่งด่วน

ประเด็นสำคัญและเร่งด่วนของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น มีจำนวนนักศึกษาเป็นไปตามแผนรับนักศึกษา/ มีโครงการหรือหลักสูตรใหม่ / มีการเปิดหลักสูตรอบรมระยะสั้นและมีผู้เรียนได้ตามเป้าหมาย มีโครงการหารายได้ / มีการจัดการเรียนการสอนออนไลน์มีประสิทธิภาพ หรือ ปฏิบัติหน้าที่ตามนโยบายเร่งด่วนอื่นๆ ของคณะวิทยาศาสตร์และมหาวิทยาลัยสวนดุสิต

2. ดำเนินงานตามความสำคัญและเร่งด่วน แล้วส่งผลให้ลดความเสี่ยง ผลกระทบที่อาจสร้างความเสียหาย หรือเกิดผลการพัฒนา เช่น มีบทเรียนออนไลน์ มีการบริการวิชาการ/ อบรมที่สร้างรายได้ / ได้รับเงินสนับสนุนจากแหล่งทุนจากภายนอกที่ก่อให้เกิดการสร้างงาน (ไม่นับวิจัย) เป็นต้น

3. มีผลประเมินจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

-----เกณฑ์คะแนน---------

3 ข้อ ได้ 5 คะแนน

2 ข้อ ได้ 4 คะแนน

1 ข้อ ได้ 3 คะแนน

1.       เป็นกรรมการพัฒนาหลักสูตรปรับปรุง วิทยาการคอมพิวเตอร์ แก้ไข ปรับปรุงได้อย่างรวมเร็ว เข้าอนุกรรมการกลั่นกรอง สภาวิชาการ และสภามหาวิทยาลัย ในเดือนเดียวกันได้

2.       เป็นทีมพัฒนารายวิชาการใช้ชีวิตในยุคดิจิทัล ซึ่งปรับปรุงเนื้อหาและกิจกรรมการสอนทุกภาคการศึกษาตามผลการประเมินของนักศึกษา และตอบสนองตามนโยบายของผู้บริหาร  

3.       ทีมพัฒนาระบบสารสนเทศใช้ในมหาวิทยาลัย พัฒนาเว็บแอปพลิเคชันคลังเครดิตเพื่อรองรับการศึกษาทุกช่วงวัย       ระบบคลังหน่วยกิต  (http://creditbank.sci.dusit.ac.th)  ซึ่งระบบการศึกษา academic.dusit.ac.th ไม่รองรับการอบรม

4.       มีการประเมินจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกโครงการ

 

6. การมีทักษะใหม่ที่จำเป็น (New Skills)

1. มีการพัฒนาตนเอง เข้ารับการอบรมอย่างน้อย 18 ชั่วโมง
ต่อปี  ในศาสตร์ความรู้อื่น ๆ เช่น ภาษาอังกฤษ ดิจิทัล ทักษะในงาน

(แสดงหลักฐาน เช่น ใบประกาศนียบัตร/ หลักฐานการเรียน ในชั้นเรียน/ การเรียนออนไลน์/ ผลสอบ TOEIC 500 เป็นต้น 

2. นำผลการอบรมมาใช้ในการพัฒนางาน/ แก้ปัญหา/ ถ่ายทอดความรู้ในรูปแบบต่างๆ

(หลักฐาน เช่น  การจัดการความรู้ (KM) ในรูปแบบ Onsite / Online / One-page/ ผลงานตีพิมพ์หรือหนังสือที่แต่งเป็นภาษาอังกฤษ เป็นต้น)

   -----เกณฑ์คะแนน---------

ข้อละ 2 คะแนน

2 ข้อ ได้ 4 คะแนน

1 ข้อ ได้ 2 คะแนน

1.      อบรมพัฒนาตลอดระยะเวลา 12 เดือน จำนวน 7 หลักสูตร จำนวน 20 ชั่วโมง

2.      มีการถ่ายทอดความรู้ด้วยการเป็นวิทยากร

3.      มีการถ่ายทอดความรู้ที่ได้จากการอบรมในช่อง YouTube 

7. การสร้างความเชี่ยวชาญในงานด้วยการลงมือปฏิบัติและรู้จริงในสิ่งที่ทำ (Professional by hands)

 

1. ได้รับเชิญผู้ทรงคุณวุฒิ/ วิทยากรภายนอก/ Reviewer

(มีหนังสือเชิญ และได้รับอนุญาต

หมายเหตุ Reviewer ในระดับชาติหรือนานาชาติ

- ระดับชาติ คือ มีหน่วยงานร่วมในประเทศมากกว่า 3 หน่วยงาน

- ระดับนานาชาติ คือ มีหน่วยงานร่วมต่างประเทศมากกว่า 3 หน่วยงาน

2. สร้างชื่อเสียงทั้งในภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

(มีผลงานเป็นที่ยอมรับจากสังคม ได้รับรางวัล หรือเป็นที่รู้จักผ่านช่องทาง Social Media / ได้รับ UKPSF Certificate เป็นต้น)

-----เกณฑ์คะแนน---------

ข้อละ 2 คะแนน

2 ข้อ ได้ 4 คะแนน

1 ข้อ ได้ 2 คะแนน 

ระดับประเทศ (นอกมหาวิทยาลัย)

   1.ผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างหลักสูตรการพัฒนาเว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้ในโครงการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาเว็บไซต์ที่ทุกคืนเข้าถึงได้  วันที่ 15-19 กันยายน 2565

ณ โรงแรมเซ็นทราบายเซ็นทารา ศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ 

   2.โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ : ให้ความรู้ด้านการตลาดและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ออนไลน์ เพื่อสร้างรายได้ตามพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงและการต่อยอดธุรกิจ

ระยะเวลาดำเนินงาน : กันยายน 2565 

ระดับมหาวิทยาลัย (ภายในมหาวิทยาลัย)

   1).คณะดำเนินงานพัฒนารายวิชา การใช้ชีวิตในยุคดิจิทัล และรายวิชาการใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน (2566)

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ : ปรับปรุง พัฒนา จัดทำเอกสารและสื่อการสอนรายวิชา การใช้ชีวิตในยุคดิจิทัล และรายวิชาการใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ที่จะใช้ในปีการศึกษา 2566

ระยะเวลาดำเนินงาน : มีนาคม 2564 – สิงหาคม 2567       

คำสั่งมหาวิทยาลัย 2036/2564

     2).คณะกรรมการโครงการ การประเมินสมรรถนะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลสําหรับนักศึกษา

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ : วิทยากรให้ความรู้สำหรับนักศึกษา

เพื่อการประเมินสมรรถนะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล

ระยะเวลาดำเนินงาน : กรกฏาคม 2565 – สิงหาคม 2565

คําสั่งมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่    2372/2565

    3).คณะกรรมการโครงการพัฒนาทักษะการทํางานให้มีประสิทธิภาพด้วย Microsoft Office

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ : คณะกรรมการฝ่ายเทคนิค

ดูแลรับผิดชอบการอบรมออนไลน์ ให้เป็นไปด้วยความเรียนร้อย

ระยะเวลาดำเนินงาน : กันยายน  2565

คําสั่งมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่    3237/2565

เรื่อง   แต่งตั้งคณะทํางานโครงการพัฒนาทักษะการทํางานให้มีประสิทธิภาพด้วย  Microsoft Office     

    4).คณะกรรมการฝึกซ้อมบัณฑิต

คําสั่งมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่     2839/2565

เรื่อง   แต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานฝึกซ้อมย่อยงานพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจําปีการศึกษา 2560-2562

ระยะเวลาดำเนินงาน : กันยายน  2565

    5).คณะกรรมการโครงการกิจกรรมเสวนา Happy Science Happy University : กรณีศึกษา Happy Body

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ : คณะกรรมการฝ่ายเทคนิค

ดูแลรับผิดชอบการอบรมออนไลน์ ให้เป็นไปด้วยความเรียนร้อย

ระยะเวลาดำเนินงาน : กันยายน - ตุลาคม  2565

คําสั่งมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่   3789 /2565 

   6).คณะกรรมการโครงการอบรม “รู้เท่าทันการลงทุน”

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ : คณะกรรมการฝ่ายเทคนิค

ดูแลรับผิดชอบการอบรมออนไลน์ ให้เป็นไปด้วยความเรียนร้อย

ระยะเวลาดำเนินงาน : กันยายน - ธันวาคม 2565

คําสั่งมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่   4817 /2565

 

ระดับคณะ

1.       คณะกรรมการ ฝ่ายงานประกันคุณภาพคณะฯ

คำสั่งคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี   ที่ 3013/2564

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ : ผู้กำกับตัวชี้วัด 1.9

หลักสูตรที่ให้ความรู้ตามความต้องการของผู้เรียนทุกช่วงวัย

ระยะเวลาดำเนินงาน : กันยายน 2564

     ผลลัพธ์ที่เกิดจากการดำเนินงาน : บรรลุเป้าหมาย 19 คะแนน 

2.       คณะกรรมการดําเนินงานโครงการ Upskill - Reskill - Newskill            เพื่อพัฒนาสมรรถนะ ดานดิจิทัล (Digital Competency)     

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ : วิทยากร และคณะกรรมการ   

      คําสั่งคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ที่  4465/2565                  

      วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 – 31 กรกฎาคม 2566 

ผศ.นภัสศรัณย์ ชัชวาลานนท์

Details

แผนพัฒนารายบุคคล IDP

วุฒิบัตรอบรมสม่ำเสมอ

วิทยากรเผยแพร่ความรู้

Details

YouTube Channel

Details

ช่องทางการเรียนย้อนหลัง

Details

ปมสด2_7_1_2566

Folder contents:

Details

ผลประเมินโครงการ

Details

Comments


    Add comment

    Fields marked by '*' are required.