ประวัติ ผศ.ดร.เอื้ออารี จันทร

ผศ.ดร.เอื้ออารี จันทร (FHEA)

Details

poll talk ep.38 : หัวอกครู ผู้ปกครอง นักเรียน กับการเรียนออนไลน์

Poll Talk Exclusive EP.2 คนไทยกับ"โลกดิจิทัล"

ประวัติการศึกษาและประวัติการทำงาน

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2558                     ค.ด. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พ.ศ. 2547                     บธ.ม. การตลาด มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

พ.ศ. 2565                     ศศ.บ. การพัฒนาเด็กปฐมวัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช

พ.ศ. 2539                     ค.บ. คอมพิวเตอร์ศึกษา มัธยมศึกษา-วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการทำงาน

พ.ศ. 2559-ปัจจุบัน         หัวหน้าฝ่ายพัฒนาระบบการเรียนรู้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

พ.ศ. 2550-2553            รองผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

พ.ศ. 2548-2550            ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

พ.ศ. 2545-2548            หัวหน้าฝ่ายเลขานุการศูนย์คอมพิวเตอร์ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต

พ.ศ. 2540-2545           เลขานุการศูนย์คอมพิวเตอร์ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต

ประวัติการสอน

พ.ศ. 2557-ปัจจุบัน        อาจารย์ประจำคณะครุศาสตร์

พ.ศ. 2547-2553            อาจารย์ประจำ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ

พ.ศ. 2540-2547           อาจารย์ประจำ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

พ.ศ. 2539-1540            อาจารย์อัตราจ้าง สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะกรรมการ

พ.ศ.2565                       คณะกรรมการ พัฒนาหลักสูตร การบริหารจัดการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภายในองค์กร (IT Service Management) 
                                       สถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐด้านดิจิทัล : Thailand Digital Government Academy 

พ.ศ.2560 – ปัจจุบัน        คณะกรรมการบริหารหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

พ.ศ.2557- ปัจจุบัน          คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

ผลงานวิชาการ

งานวิจัย

เอื้ออารี จันทร. (2022). การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย โดยใช้การเรียนรู้จากการทำงานแบบผสมผสานและเสริมศักยภาพด้วยเทคโนโลยี. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 17(1), 312-325. 

Janthon, U. Tongkeo, T. & Trakoonsathitmun, S. (2021). Development of Work-Based Learning Skills Bank to Enhance Learning and Innovation Skills on Early Childhood Education for Caregivers. ASEAN Journal of Education, 7(2), 36-44.

Lungka, P., Iamsena, S. Langkab, W., Issaramanorosea, N.,  Chiropasworraponga, P. & Janthon, U. (2021). Guidelines for Enhancing Early Childhood Teacher Preparation and Development in Higher Education Institutions in Thailand. Journal of Multidisciplinary in Social Sciences, 17(2), 60-72.

Lungka, P., Nichanong, C., Langka, W., Issaramanorose, N., Intamra, P., Chiropasworrapong, P.  & Janthon, U. (2021). A Study of guideline for Reforming Training Program for Pre-service Preschool Teachers, In-service Preschool Teachers, Caregivers, and Teacher Assistants. Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University, 18(2), 215-230.

Janthon, U., Songkram, N. and Kornaeekij, P. (2015). Work-based Blended Learning and Technological Scaffolding System to Enhance Communication Skills for Caregivers Under Local Administrative Organization, Ministry of Interior, Thailand (Part I). Procedia - Social and Behavioral Sciences. 174. 984-991.

เพ็ญพักตร์ ภู่ศิลป์, พรชุลี ลังกา, ธวัชชัย ตั้งอุทัยเรือง, เกษร ขวัญมา, ปุณยวีร์ จิโรภาสวรพงศ์ และเอื้ออารี จันทร. (2560). ผลการจัดกิจกรรมพัฒนาการคิดเชิงสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น : กรณีศึกษา ตําบลโคกโคเฒ่า อําเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฆ. 12 (1) : 320-334.

ชนะศึก  นิชานนท์, เอื้ออารี  จันทร, สาธิดา  สกุลรัตนกุลชัย, ทิพวัลย์  ปัญจมะวัต และ ดวงกมล  ขำแสง. (2559). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาสำหรับผู้ดูแลเด็กโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้โดยใช้การทำงานเป็นฐาน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 31(2), 135-187.

เอื้ออารี จันทร. (2557). การพัฒนาระบบการเรียนรู้จากการทำงานแบบผสมผสานและเสริมศักยภาพด้วยเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารสำหรับผู้ดูแลเด็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จุลสาร

เอื้ออารี จันทร. (2560). Roadmap การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาครูปฐมวัยตาม โครงการ รมป.2. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

วีระพันธ์ ชมภูแดง และ เอื้ออารี จันทร. (2560). IPad เครื่องมือในการพัฒนาครูปฐมวัย.  กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

บทความออนไลน์

เอื้ออารี ทองแก้ว จันทร. (2558). ห้องเรียนอัจฉริยะกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. เรียกใช้เมื่อ 14 พฤษภาคม 2560, สืบค้นจาก http://uaaree.dusit.ac.th/ wp-content/uploads/2015/12/บทความ-smart-classroom.pdf

บทความหนังสือพิมพ์

เอื้ออารี จันทร และ ทิพสุดา คิดเลิศ. (2567). บทความโดยใช้ Gen AI. หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 74 ฉบับที่ 25242 หน้า 1 (ขวา) วันพฤหัสบดีที่ 11 มกราคม 256ึ7.

เอื้ออารี จันทร. (2566). ครู Gen-R ครูแห่งความหวังสำหรับโลกอนาคต. หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 73 ฉบับที่ 24798 หน้า 5 (บนซ้าย) วันอังคารที่ 10 มกราคม 2566.

เอื้ออารี จันทร. (2565). ความเป็นผู้นำดิจิทัล (Digital Leadership). หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 72 ฉบับที่ 24790 หน้า 5 (บนซ้าย) วันอังคารที่ 19 เมษายน 2565.

เอื้ออารี จันทร. (2565). เครือข่ายสำหรับผู้บริหาร. หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 72 ฉบับที่ 24795 หน้า 5 (บนขวา) วันอังคารที่ 26 เมษายน 2565.

เอื้ออารี จันทร. (2565). กรอบพฤติกรรมภาวะผู้นำ (กพภ.) หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 72 ฉบับที่ 24810 หน้า 5 (บนซ้าย) วันอังคารที่ 17 พฤษภาคม 2565.

 เอื้ออารี จันทร. (2565). คนไทยในโลกดิจิทัล. หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 72 ฉบับที่ 24820 หน้า 5 (บนซ้าย) วันอังคารที่ 31พฤษภาคม 2565.

 เอื้ออารี จันทร. (2564). Digital Mindset สิ่งที่ครูต้องปรับเมื่อโลกเปลี่ยน. หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 71 ฉบับที่ 25515 หน้า 5 (บนซ้าย) วันอังคารที่ 30 มีนาคม 2564.

เอื้ออารี จันทร. (2564). Camping at Home เมื่อต้องเข้าค่ายแบบมีระยะห่าง. หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 71 ฉบับที่ 24540 หน้า 5 (บนซ้าย) วันอังคารที่ 4 พฤษภาคม 2564.

เอื้ออารี จันทร. (2564). สร้างความเท่าเทียมด้วยเทคโนโลยี. หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ปีที่ 71 ฉบับที่ 245ุ60 หน้า 5 (บนขวา) วันอังคารที่ 1 มิถุนายน 2564.

Certificate

  • UKPFS (FHEA) Fellowship Reference PR201045 (2020)
  • Apple Leader
  • Apple Teacher
  • Microsoft Office Specialist-Expert (2022)
  • Microsoft Office Specialist-Excel Expert (2022)
  • Microsoft Office Specialist-Word Expert (2022)
  • IC3 Certification - Global Standard 5
  • IC3 Computing Fundamentals - Global Standard 5
  • IC3 Key Applications - Global Standard 5
  • IC3 Living Online - Global Standard 5
  • MCE Technology Literacy for Educators - 21st Century Learning Design
  • MOS Associate
  • MOS Excel2019
  • MOS Outlook2019
  • MOS PowerPoint2019
  • MOS Word2019
  • SWIFT App Development with Swift Level 1
  • Microsoft Innovative Educator
  • 21st century learning design
  • ASEAN Teachers
  • remotelearning through
  • Trainer academy

ประสบการณ์พัฒนาระบบการเรียนรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

ประสบการณ์พัฒนาระบบการเรียนรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

  • พัฒนานวัตกรรม ระบบการเรียนรู้จากการทำงานแบบผสมผสานและการเสริมศักยภาพด้วยเทคโนโลยี (Work-based Blended Learning and technological Scaffolding :WBSC)
  • ออกแบบและร่วมพัฒนา ระบบ SDU MOOC 
  • ออกแบบและพัฒนารูปแบบการบูณาการเทคโนโลยี หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
  • พัฒนากิจกรรมการการฝึกอบรมการใช้ Smart Classroom สำหรับกลุ่มผู้ดูแลเด็ก และ พัฒนาอาจารย์ในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
  • ออกแบบและวางระบบ CEDS 1 ในการบริหารจัดการครุภัณฑ์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
  • ที่ปรึกษาและวางแผนการพัฒนา e-Portfolio ของบุคลากรในมหาวิทยาลัย

Comments


    Add comment

    Fields marked by '*' are required.